#487 กูเกิ้ลไม่คัดคนที่เกรดหรือสถาบัน
พบงานเขียนในเว็บไซต์ The CEO Blogger ที่น่าจะแปลจากการให้ความเห็นของ Laszlo Bock ตัวแทนฝ่ายทรัพยากรบุคคล Google ที่ให้ข้อมูลกับผู้สื่อข่าวของ New York Times ซึ่งมี 3 ประเด็น คือ 1) คนจบจากสถาบันดัง เรียนสูง เกรดดี มีโอกาสมีอีโก้มากเกินไป 2) คนที่สร้างผลงานและมีประสบการณ์จริงด้วยตัวเอง ตั้งแต่ยังเรียนไม่จบ คือ ทรัพยากรบุคคลที่มีค่ามาก 3) ความสามารถในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงเร็วมีความสำคัญกว่าไอคิว
นี่เป็นความคิดเห็นของผู้ดูแลงานบุคคลในบริษัทยักใหญ่ระดับโลกที่จะคัดเลือกคนเข้าทำงาน ซึ่งคาดได้ว่ามีคนเข้าไปสมัครทำงานกับบริษัทกูเกิ้ลเยอะมาก หากจะพิจารณาจากชื่อเสียงของสถาบันที่ผู้สมัครสำเร็จการศึกษาก็คงไม่ได้ เพราะผู้ที่อาจหาญเข้าไปสมัครงานก็ต้องจบจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ มีเกรดสูง มีความมั่นใจ มีความสามารถ ทำให้บริษัทต้องตั้งเงื่อนไขพิเศษในการคัดเลือกบุคลากรที่แตกต่างออกไป สิ่งที่กูเกิ้ลน่าจะมองหา คือ ผู้สมัครที่สร้างผลงานอันโดดเด่นระหว่างเรียน ความสนใจในเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมที่ยังไม่มีสอนในสถาบัน ซึ่งเงื่อนไขใหม่ที่เพิ่มเข้ามาจะทำให้จำนวนผู้ผ่านเกณฑ์การเป็นผู้สมัครที่จะถูกเรียกสัมภาษณ์ก็จะลดลงไปมาก ทำให้บริษัทลดเวลาในการคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสมได้
แต่ในประเทศไทยคนที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่นมีน้อย บางบริษัทเปิดรับบุคลากรที่มีคุณสมบัติตรงกับตำแหน่ง แต่ก็ไม่มีผู้สมัครเข้าทำงานด้วยเหตุผลเรื่องเงินเดือน สวัสดิการ ความสามารถ หรือที่ตั้งของบริษัท เป็นต้น ส่วนบางตำแหน่งในบางองค์กร เมื่อเปิดรับสมัครพบว่ามีคนแห่สมัครนับร้อยนับพันคน การคัดกรองในเบื้องต้นก็จำเป็นต้องใช้เงื่อนไขเรื่องของสถาบันการศึกษา และเกรดเฉลี่ย เพื่อลดเวลาและขั้นตอนในการคัดกรอง ในประเทศของเรามีการแบ่งคุณภาพของสถาบันการศึกษาอย่างชัดเจน เพราะมีผลการจัดอันดับสถาบันออกมาให้เห็น คะแนนคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาที่แตกต่างกัน ทำให้ผู้ประกอบการใช้เงื่อนไขมาจำแนกคุณสมบัติของนิสิต นักศึกษา ตั้งแต่การคัดเลือกเข้าศึกษาต่อมาเป็นเกณฑ์ส่งผลถึงการคัดเลือกคนเข้าทำงาน เรียกว่า ทบทวนวรรณกรรมก็ว่าได้ และใช้สารสนเทศมาประกอบการตัดสินใจ ใช้พิจารณา และสร้างเงื่อนไขคัดเลือกคนเข้าทำงาน
แต่ในประเทศไทยคนที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่นมีน้อย บางบริษัทเปิดรับบุคลากรที่มีคุณสมบัติตรงกับตำแหน่ง แต่ก็ไม่มีผู้สมัครเข้าทำงานด้วยเหตุผลเรื่องเงินเดือน สวัสดิการ ความสามารถ หรือที่ตั้งของบริษัท เป็นต้น ส่วนบางตำแหน่งในบางองค์กร เมื่อเปิดรับสมัครพบว่ามีคนแห่สมัครนับร้อยนับพันคน การคัดกรองในเบื้องต้นก็จำเป็นต้องใช้เงื่อนไขเรื่องของสถาบันการศึกษา และเกรดเฉลี่ย เพื่อลดเวลาและขั้นตอนในการคัดกรอง ในประเทศของเรามีการแบ่งคุณภาพของสถาบันการศึกษาอย่างชัดเจน เพราะมีผลการจัดอันดับสถาบันออกมาให้เห็น คะแนนคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาที่แตกต่างกัน ทำให้ผู้ประกอบการใช้เงื่อนไขมาจำแนกคุณสมบัติของนิสิต นักศึกษา ตั้งแต่การคัดเลือกเข้าศึกษาต่อมาเป็นเกณฑ์ส่งผลถึงการคัดเลือกคนเข้าทำงาน เรียกว่า ทบทวนวรรณกรรมก็ว่าได้ และใช้สารสนเทศมาประกอบการตัดสินใจ ใช้พิจารณา และสร้างเงื่อนไขคัดเลือกคนเข้าทำงาน
แต่ในประเทศไทยคนที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่นมีน้อย บางบริษัทเปิดรับบุคลากรที่มีคุณสมบัติตรงกับตำแหน่ง แต่ก็ไม่มีผู้สมัครเข้าทำงานด้วยเหตุผลเรื่องเงินเดือน สวัสดิการ ความสามารถ หรือที่ตั้งของบริษัท เป็นต้น ส่วนบางตำแหน่งในบางองค์กร เมื่อเปิดรับสมัครพบว่ามีคนแห่สมัครนับร้อยนับพันคน การคัดกรองในเบื้องต้นก็จำเป็นต้องใช้เงื่อนไขเรื่องของสถาบันการศึกษา และเกรดเฉลี่ย เพื่อลดเวลาและขั้นตอนในการคัดกรอง ในประเทศของเรามีการแบ่งคุณภาพของสถาบันการศึกษาอย่างชัดเจน เพราะมีผลการจัดอันดับสถาบันออกมาให้เห็น คะแนนคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาที่แตกต่างกัน ทำให้ผู้ประกอบการใช้เงื่อนไขมาจำแนกคุณสมบัติของนิสิต นักศึกษา ตั้งแต่การคัดเลือกเข้าศึกษาต่อมาเป็นเกณฑ์ส่งผลถึงการคัดเลือกคนเข้าทำงาน เรียกว่า ทบทวนวรรณกรรมก็ว่าได้ และใช้สารสนเทศมาประกอบการตัดสินใจ ใช้พิจารณา และสร้างเงื่อนไขคัดเลือกคนเข้าทำงาน
แต่ในประเทศไทยคนที่มีคุณสมบัติที่โดดเด่นมีน้อย บางบริษัทเปิดรับบุคลากรที่มีคุณสมบัติตรงกับตำแหน่ง แต่ก็ไม่มีผู้สมัครเข้าทำงานด้วยเหตุผลเรื่องเงินเดือน สวัสดิการ ความสามารถ หรือที่ตั้งของบริษัท เป็นต้น ส่วนบางตำแหน่งในบางองค์กร เมื่อเปิดรับสมัครพบว่ามีคนแห่สมัครนับร้อยนับพันคน การคัดกรองในเบื้องต้นก็จำเป็นต้องใช้เงื่อนไขเรื่องของสถาบันการศึกษา และเกรดเฉลี่ย เพื่อลดเวลาและขั้นตอนในการคัดกรอง ในประเทศของเรามีการแบ่งคุณภาพของสถาบันการศึกษาอย่างชัดเจน เพราะมีผลการจัดอันดับสถาบันออกมาให้เห็น คะแนนคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาที่แตกต่างกัน ทำให้ผู้ประกอบการใช้เงื่อนไขมาจำแนกคุณสมบัติของนิสิต นักศึกษา ตั้งแต่การคัดเลือกเข้าศึกษาต่อมาเป็นเกณฑ์ส่งผลถึงการคัดเลือกคนเข้าทำงาน เรียกว่า ทบทวนวรรณกรรมก็ว่าได้ และใช้สารสนเทศมาประกอบการตัดสินใจ ใช้พิจารณา และสร้างเงื่อนไขคัดเลือกคนเข้าทำงาน
http://www.cookiecoffee.com/diary/71297/
http://www.theceoblogger.com/ceo-1502005/ (deadlink)